ตัวชี้บ่งความอ้วนสำหรับคนไทย (Obesity Indices for Thais)

ก่อนอื่น กรอกตัวเลขที่ "ช่องดำเทา" 3 ช่องข้างล่าง เพื่อใช้ประเมินระดับไขมัน (ความอ้วนหรือผอม) ของท่าน
ส่วนสูงในปัจจุบันของท่าน เซนติเมตร
น้ำหนักตัวในปัจจุบันของท่าน กิโลกรัม
ค่าเส้นรอบวงเอวในปัจจุบันของท่าน
วิธีประเมินที่หนึ่ง : ดัชนีมวลกาย (Body Mass Index; BMI)
     [BMI คำนวณจาก น้ำหนักตัวต่อส่วนสูงยกกำลังสอง มีหน่วยเป็น กิโลกรัมต่อตารางเมตร]
วิธีประเมินที่สอง : สัดส่วนความยาวเส้นรอบวงเอวต่อส่วนสูง (Waist-to-Height Ratio; WHtR)
     [WHtR วัดที่จุดกึ่งกลางระหว่างปลายล่างสุดของชายโครงกับปุ่มบนสุดของตะโพก ให้ทั้งสองค่า มีหน่วยวัดเดียวกัน]
ข้อเสนอ “ขอบพรมแดนกั้นอ้วน” ที่เราไม่ควรก้าวล่วงไปเกินกว่านี้
     1. ค่าดัชนีมวลกาย ควรน้อยกว่า 23 กก.ต่อตรม. ลงมา
     2. ค่าสัดส่วนความยาวเส้นรอบวงเอวต่อส่วนสูง ควรน้อยกว่า 0.5 ลงมา
ดัชนีมวลกายในปัจจุบันของท่าน     กก.ต่อตรม.
การเทียบ 'ดัชนีมวลกายของท่าน' กับมาตรฐาน ให้ดูที่ตำแหน่งเครื่องหมาย ดอกจัน * หน้าแถว
การประมวลและประยุกต์ใช้ WHO committee 1995, WPRO 2000, WHO consultation 2004 [ref1-3]
น้อยกว่าตั้งแต่ 18.49 ลงมา ---> ท่านค่อนข้างผอมไป : ควรระวังภาวะผอมเกินไป
18.50-22.99 ---> ท่านมีน้ำหนักปกติ : ควรดำรงน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับนี้
23.00-24.99 ---> ท่านมีภาวะอวบท้วม : ควรเริ่มระวังอย่าให้น้ำหนักเพิ่มขึ้นอีก
25.00-27.49 ---> ท่านเริ่มมีภาวะอ้วน : ควรมีมาตรการควบคุมน้ำหนักตนเอง
27.50-29.99 ---> ท่านมีภาวะอ้วน : ควรจริงจังในการควบคุมน้ำหนักตัว
30.00-32.49 ---> ท่านเริ่มอ้วนชัดเจน : ต้องควบคุมหรือลดน้ำหนักลง
32.50-34.49 ---> ท่านอ้วนชัดเจน : ต้องควบคุมหรือลดน้ำหนักจริงจัง
มากกว่าตั้งแต่ 35 ขึ้นไป ---> ท่านอ้วนชัดเจนมาก : จำเป็นต้องลดน้ำหนักเพื่อลดโรคเรื้อรัง
ค่าน้ำหนักตัว แต่ละขั้นของท่าน (สำหรับนำไปติดหน้าตู้เย็น) เพื่อเตือนใจก่อนเกิดปัญหาจากความอ้วน
ถ้าน้อยกว่านี้จะเริ่มผอมเกินไป กก. (BMI = 18.5)
(ค่ากึ่งกลางของช่วงน้ำหนักตัวที่ปกติ) กก.
เริ่มอวบท้วม กก. (BMI = 23)
เริ่มเข้าสู่เขตอ้วน กก. (BMI = 25)
อ้วนแล้ว กก. (BMI = 27.5)
อ้วนแน่ๆไม่ต้องสงสัย กก. (BMI = 30)
อ้วนถึงขีดที่จำเป็นต้องแก้ไขอย่างจริงจัง กก. (BMI = 32.5)
สัดส่วนเส้นรอบวงเอวต่อความสููงของท่าน    
การเทียบ 'สัดส่วนความยาวเส้นรอบวงเอวต่อความสูงของท่าน' กับมาตรฐาน ให้ดูที่ตำแหน่งเครื่องหมาย ดอกจัน * หน้าแถว
การประเมินเพื่อคัดกรองภาวะอ้วนลงพุงตามข้อเสนอจากการทบทวนงานวิจัยจากนานาชาติ [Ref4]
น้อยกว่าตั้งแต่ 0.39 ลงมา ---> ท่านค่อนข้างผอมไป
0.40-0.49 ---> ท่านมีสัดส่วนร่างกายพอเหมาะ
0.50-0.59 ---> ท่านมีสัดส่วนอวบลงพุง
มากกว่าตั้งแต่ 0.60 ขึ้นไป ---> ท่านมีสัดส่วนอ้วนลงพุงชัดเจน
ค่าความยาวเส้นรอบวงเอว แต่ละขั้นของท่าน เพื่อเตือนใจก่อนเกิดปัญหาจากความอวบความอ้วนลงพุง
ถ้าน้อยกว่านี้จะเริ่มผอมเกินไป นิ้ว (WHt.R = 0.4)
(ค่ากึ่งกลางของช่วงเส้นรอบวงเอวที่ปกติ) นิ้ว
เริ่มอวบลงพุง นิ้ว (WHt.R = 0.5)
เริ่มเข้าเขตอ้วนลงพุงชัดเจน นิ้ว (WHt.R = 0.6)

[1] Technical Report Series No.854; WHO 1995.: ข้อเสนอจุดตัดสำหรับประชากรหลายเชื้อชาติ เช่น ชาวยุโรป ที่ BMI 18.5, 25.0, 30.0, 40.0
[2] WPRO 2000; The Regional Office for the Western Pacific standard: ข้อเสนอจุดตัดที่อาจเหมาะสมสำหรับคนเอเชีย ที่ BMI 23, 25, 30
[3] WHO; Asian issue. Lancet 2004;363:157–63.: ข้อเสนอจุดตัด (potential public health action points) ที่ BMI 23.0, 27.5, 32.5, 37.5
[4] Ashwell M. Open Obesity Journal 2011;3:78-84.: ข้อเสนอจุดตัดสำหรับประเมินภาวะอ้วนลงพุงในหลากเชื้อชาติ ที่ WHt.R 0.4, 0.5, 0.6

ท่านสามารถ download file ได้ที่นี่ Prepared by Dr Orapin Mookdadilok, MD : July 2012

[กลับสู่หน้าหลัก]